คุณกำลังมองหาอะไร?

รายการ ระดับของตัวชี้วัด ความถี่

เป้าหมาย

ผลงาน
เทียบเป้าหมาย

กลุ่มอนามัยแม่และเด็ก

อัตราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคน

รายงานผ่าน DOC Dashbord
 เอกสารรายงานเผยแพร่บนเว็บไซต์

กระทรวง : SDG/ยศ/ตร.
 กรม : ยศ /ฝร./ปร./ปก.
 Cluster : ปก
 สำนัก : ปก/PA

ทุกเดือน

ไม่เกิน 17 ต่อ
การเกิดมีชีพแสนคน

อัตราทารกเกิดไร้ชีพ (Stillbirth rate) (≥24 สัปดาห์)

รายงานผ่าน CMI@MOPH

ระดับกรม : เฝ้าระวัง  6 เดือน

ไม่มีเป้า

 

อัตราตายทารกแรกเกิดระยะต้น (Early Neonatal Mortality Rate : ENMR)

รายงานผ่าน CMI@MOPH

ระดับกรม : เฝ้าระวัง  6 เดือน ไม่มีเป้า  

อัตราการตายทารกแรกเกิดภายใน 28 วัน
(Neonatal Mortality Rate : NMR)

ระดับกรม : เฝ้าระวัง

 3 เดือน

ไม่เกิน 3.6

ต่อการเกิดมีชีพพันคน

อัตราตายทารกอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1 ปี
(Infant Mortality Rate)

 ระดับกรม : เฝ้าระวัง  3 เดือน  ไม่มีเป้า  

ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรก <= 12 สัปดาห์

 รายงานผ่าน HDC Service
ระดับกรม : เฝ้าระวัง   3 เดือน

รอบ 6 เดือนแรก
ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 50

ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์

รายงานบน HDC Service

ระดับกรม : เฝ้าระวัง  3 เดือน  รอบ 6 เดือนแรก
ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 50

อัตราการเกิดภาวะขาดอากาศในทารกแรกเกิด

 

ระดับกรม : เฝ้าระวัง   3 เดือน ไม่มีเป้า  

ร้อยละของทารกแรกเกิดน้าหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

รายงานผลบน HDC Service

 ระดับกรม : เฝ้าระวัง  3 เดือน  ร้อยละ 7

ข้อมูล ณ เดือน ตุลาคม 2565 – กุมภาพันธ์ 2566

 

รายการ ระดับของตัวชี้วัด ความถี่

เป้าหมาย

ผลงาน
เทียบเป้าหมาย

กลุ่มอนามัยวัยเรียนวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กนักเรียนชั้น ป.1
ที่ได้รับการตรวจคัดกรองสายตา

เอกสารรายงานเผยแพร่บนเว็บไซต์

ระดับกรม : เฝ้าระวัง ทุกปี ร้อยละ 80

ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.1
ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจาง

เอกสารรายงานเผยแพร่บนเว็บไซต์

ระดับกรม : เฝ้าระวัง ทุกปี ร้อยละ 80

ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.1
ได้รับการตรวจคัดกรองการได้ยิน

เอกสารรายงานเผยแพร่บนเว็บไซต์

ระดับกรม : เฝ้าระวัง ทุกปี ร้อยละ 80

ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.1-6
ได้รับการตรวจเหา และได้รับการแก้ไข

เอกสารรายงานเผยแพร่บนเว็บไซต์

ระดับกรม : เฝ้าระวัง ทุกปี ร้อยละ 100

ร้อยละของเด็กไทยมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ 

รายงานผ่าน โปรแกรม HPS Plus HL

ระดับกรม : PA รายงานผลปีละ 2 ครั้ง ร้อยละ 60

ร้อยละของนักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์

รายงานผ่าน โปรแกรม HPS Plus HL

ระดับกรม รายงานผลปีละ 2 ครั้ง

ร้อยละ 50

 

รายการ ระดับของตัวชี้วัด ความถี่

เป้าหมาย

ผลงาน
เทียบเป้าหมาย

กลุ่มอนามัยวัยทำงาน

ร้อยละของประชากรอายุ 15-59 ปี
มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์

เอกสารรายงานเผยแพร่บนเว็บไซต์

 ระดับสำนัก :  PA
 Cluster วัยทำงาน

ทุกปี

ร้อยละ 46

รายละเอียดตัวชี้วัดเผ้าระวัง ปี 2566 อัพเดทน ณ วันที่ 12 ตุลาคม 2565

 

รายการ ระดับของตัวชี้วัด ความถี่

เป้าหมาย

ผลงาน
เทียบเป้าหมาย

กลุ่มอนามัยแม่และเด็ก

ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์ครบ 8 ครั้ง ตามเกณฑ์

 

ระดับกรม : เฝ้าระวัง   3 เดือน ร้อยละ 50

ร้อยละหญิงไทยคลอดก่อนกำหนด

รายงานบน HDC Service

 ระดับกรม    

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 

(ผู้รับผิดชอบหลัก : สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ)
รายงานบน HDC Service

 ระดับกรม ทุกเดือน ร้อยละ 89

ร้อยละทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว

รายงานบน HDC Service

 ระดับกรม 6 เดือน ร้อยละ 62

รายละเอียดตัวชี้วัด ปี 2566 อัพเดทน ณ วันที่ 12 ตุลาคม 2565

 

รายการ ระดับของตัวชี้วัด ความถี่

เป้าหมาย

ผลงาน
เทียบเป้าหมาย

กลุ่มอนามัยวัยเรียนวัยรุ่น

โรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ (HLS)

รายงานผ่าน โปรแกรม HPS Plus HL

 ระดับกรม  รายงานผลปีละ 2 ครั้ง 2,000 แห่ง

เด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน

(ผู้รับผิดชอบหลัก : สำนักโภชนาการ)
รายงานบน DOH Dashbord

 ระดับกรม รายงานผลปีละ 2 ครั้ง ร้อยละ 57

ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 19 ปี

(ผู้รับผิดชอบหลัก : สำนักโภชนาการ)
รายงานบน HDC Service

 ระดับกรม รายงานผลปีละ 2 ครั้ง  ชาย 171 ซม.
หญิง 161 ซม.

เด็กอายุ 12 ปี ปราศจากฟันผุ (Caries free)

(ผู้รับผิดชอบหลัก : สำนักทันตสาธารณสุข)
รายงานบน HDC Service

 ระดับกรม ทุกเดือน ร้อยละ 72

อัตราการคลอดมีชีพหญิงอายุ 15-19 ปี 

(ผู้รับผิดชอบหลัก : สำนักอนามัยเจริญพันธุ์)
รายงานบน HDC Service

 ระดับกรม ทุก 3 เดือน ไม่เกิน 23 :
1000 คน

หญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern Methods) หลังคลอดหรือหลังแท้ง

(ผู้รับผิดชอบหลัก : สำนักอนามัยเจริญพันธุ์)
รายงานบน HDC Service

 ระดับกรม ทุก 3 เดือน ร้อยละ 60

รายละเอียดตัวชี้วัด ปี 2566 อัพเดทน ณ วันที่ 12 ตุลาคม 2565

 

รายการ ระดับของตัวชี้วัด ความถี่

เป้าหมาย

ผลงาน
เทียบเป้าหมาย

กลุ่มอนามัยวัยทำงาน

ร้อยละของวัยทำงานอายุ 19 - 59 ปี มีดัชนีมวลกายปกติ

(ผู้รับผิดชอบหลัก : สำนักโภชนาการ)
เอกสารรายงานเผยแพร่บนเว็บไซต์

 ระดับกรม 

 Cluster วัยทำงาน

รายงานผลปีละ 2 ครั้ง ร้อยละ 52

ร้อยละของประชากรอายุ 25 - 59 ปี ที่มีการเตรียมการเพื่อยามสูงอายุด้านสุขภาพ

(ผู้รับผิดชอบหลัก : สำนักทันตสาธารณสุข)
เอกสารรายงานเผยแพร่บนเว็บไซต์

ระดับกรม 

 Cluster วัยทำงาน

รายงานผลปีละ 2 ครั้ง ร้อยละ 46

จำนวนผู้ลงทะเบียนก้าวท้าใจ

(ผู้รับผิดชอบหลัก : กองกิจกรรมทางกาย)
รายงานบน Platfrom ก้าวท้าใจ 
 เอกสารรายงานเผยแพร่บนเว็บไซต์

ระดับกรม 

 Cluster วัยทำงาน

3 เดือน 7 ล้านบัญชี

อัตราการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีอายุ 30 - 70 ปี (ตรวจเต้านมตนเอง)

รายงานบน HDC Service

 ระดับสำนักฯ 3 เดือน ร้อยละ 80

จำนวนสถานประกอบกิจการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เอกสารรายงานเผยแพร่บนเว็บไซต์

 ระดับสำนักฯ 3 เดือน 437 แห่ง

 

         

รายละเอียดตัวชี้วัด ปี 2566 อัพเดทน ณ วันที่ 12 ตุลาคม 2565